สรุปคำสั่ง ของ Freebsd อ้างอิง ข้อมูลจากเว็บไซต์นี้ เกี่ยวกับระบบ คำสั่งตรวจสอบ ว่าเราติดตั้ง Freebsd เวอร์ชั่นหรือข้อมูลในด้านระบบที่เราติดตั้งอยู่ เพื่อให้เราสามารถอัพเดทหรือหาคู่มือปรับแต่งเพื่อให้เหมาะสม # uname -a # Get the kernel version (and BSD version) ข้อมูลของอาร์ดแวร์ เช่นกันครับ เพื่อว่าตรวจสอบสเปคเครื่องคอมที่เราใช้ รวมทั้ง กรณีอาร์ดแวร์มีปัญหา ก็สามารถตรวจสอบได้ว่าตัวไหนมีปัญหา เพราะส่วนมาแล้ว การใช้งานตัว server เรามักจะทำงานจากเครื่องลูก ตอนเปิดเครื่องบางที เราไม่ได้ต่อหน้าจอไว้โดยตรง สามารถใช้คำสั่งเหล่านี้ เพื่อตรวจสอบ ข้อมูลขณะที่บูตเครื่องได้ # dmesg Detected hardware and . . . Read more
การอัพเดท php74 เป็น php80 on FreeBSD กรณีเดิมเราใช้ php74 และต่อมาต้องการเปลี่ยนเป็นรุ่นที่สูงกว่า
กรณีที่เราต้องการทดสอบระบบโดยใช้ https หรือ บางระบบหากไม่เรียกผ่านระบบด้วย https จะไม่สามารถเชื่อมต่อได้ หรือกรณีที่เราไม่มี หรือไม่ได้จดโดเมน แต่เราต้องการใช้ https ซึ่งหากใช้ระบบ Certbot หากใช้ ip จะไม่สามารถใช้ได้ ก็สามารถจะใช้วิธีนี้ได้ แต่ก็ยังมีคำเตือนว่าไม่ปลอดภัย แต่ก็สามารถไว้ทดสอบระบบได้
เป็นบทความสั้น ๆ ไม่ขออธิบายมากเนื่องจากเป็นการใช้คำสั่งธรรมดา เพื่อเปลี่ยนจากเดิมที่เราใช้ MariaDB เป็นฐานข้อมูล และเราต้องการเปลี่ยนมาใช้ MySQL เลยบันทึกสั้นไว้
LAMP บน Ubuntu 22.04 lts คำว่า “lamp” มันคือคำย่อมาจากกลุ่มของ software ที่เราติดตั้งด้วยกัน เพื่อให้ Server ที่เราต้องการทำเป็นโอสต์เว็บไซต์ ที่เขียนด้วย PHP มันประกอบไปด้วย Linux operating system with the Apache web server. The site data is stored in a MySQL database, and dynamic content is processed by PHP.
การสร้างใบรับรองด้วยตนเองเจตนาเพื่อทดสอบระบบหรือต้องการทำอะไรสักอย่างที่เป็นการใช้งานผ่าน https:// ระหว่าง Server ของเรากับเครื่องของผู้ใช้ มันไม่ใช่เป็นการเข้ารหัสที่น่าเชื่อถือได้ ดังนั้นเมื่อเราเปิดบราวเซอร์ขึ้นมาและเรียกการใช้งาน บางทีเราจะเห็นว่ามีการแจ้งข้อผิดพลาด ขึ้นมาเพื่อเปิดหน้าเว็บไซต์ที่เก็บไว้ใน Server ของเรา
Router เมื่อเราติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ตที่บ้านเรา ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะนำมาติดตั้งให้ ในภาพแค่ภาพตัวอย่าง อาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างหลากหลายมากกว่านี้มาก แต่เป็นอันรู้นะครับ ว่านี่คือ Router
ในระบบเครือข่ายนั้น มีอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหลายชิ้น เช่น Router คอมพิวเตอร์ Server ฯลฯ ดังนั้น ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ในเครือข่าย จะต้องมีการกำหนดตัวตนของอุปกรณ์แต่ละชิ้นในเครือข่าย รวมทั้งต้องสามารถแก้ไขได้สะดวกในการปรับแต่งค่าต่างๆๆ แต่ห
DNS มันย่อมาจากคำว่า Domain Name Syetem มันคือระบบจัดการโดเมนเนม ทำไมต้องจัดการโดเมนเนม ให้เรานึกอ่านง่ายๆๆ แบบนี้ สิ่งที่ใกล้ตัวเราที่สุดถือทุกวัน นั้นคือมือถือ ในมือถือของเราในการใช้งานเรามักจะบันทึกชื่อเบอร์มือถือไว้พร้อมกับรายชื่อที่เราต้องการติดต่อ อาจจะเป็นชื่อเล่นชื่อจริง
ก่อนอื่น เราต้องเข้าใจก่อน เรื่องการแบ่ง IP Address ออกเป็น 2 ส่วน ก่อนนะครับ ตามภาพข้างล่าง ในตัวอย่างเป็น Ip Address ที่อยู่ใน Class C เป็น Class ที่พบบ่อยในระบบเครือข่ายภายในบ้านเรา ยกเว้นในองค์กร ใหญ่ๆ ที่มีคนใช้จำนวนมาก อาจจะเป็น Class อื่น แต่หากในเครือข่ายไม่เกิน 254 เครื่อง จะใช้ Class นี่แหละเป็นหลัก โดยเฉพา Ip Address แบบ private IP